ทำนาต้องรู้จัก…ดินและปุ๋ย เพื่อเพิ่มอัตรารายได้ให้เกษตรกร

ทำนาต้องรู้จักดินและปุ๋ย ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม การเกษตรจึงมิใช่เพียงการผลิตเพื่อขาย แต่เป็นภาพหนึ่งของวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประชากรส่วนใหญ่ จึงเชื่อมโยงกับปัญหาเศรษฐกิจ สุขภาพ สังคม ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของประเทศ
ระหว่างปี 2540-2551 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิวิจัย (สกว.) ได้สนับสนุนทีมงานวิจัยการจัดการธาตอาหารพืชเฉพาะพื้นที่ให้พัฒนาเทคโนโลยี “ปุ๋ยสั่งตัด” เพื่อการผลิตข้าว ข้าวโพด และอ้อย และตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2550 ผู้เขียนได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิพลังนิเวศและชุมชนในการระดมทุนจัดพิมพ์ “ธรรมชาติของดินและปุ๋ย” เพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการถ่ายทอดเทคโนโลยี “ปุ๋ยสั่งตัด” มาอย่างต่อเนื่อง
จากประสบการณ์การทำงานในพื้นที่ พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้เรื่องดินและปุ๋ยน้อยมาก ตัวอย่างเช่น ไม่เข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างปุ๋ยเคมีกับสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชปุ๋ยเคมีกับปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยอินทรีย์กับปุ๋ยชีวภาพ อีกทั้งไม่รู้ว่าเป้าหมายของการใช้ปุ๋ยแต่ละประเภทคืออะไร และขาดหลักคิดในการติดสินใจเลือกซื้อปุ๋ย ฯลฯ
ดังนั้น ถ้าต้องการพัฒนาภาคเกษตรกรรมของประเทศให้มั่นคงยั่งยืน ควรสร้างโอกาสและปัจจัยเกื้อหนุนให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ธรรมชาติของดินและปุ๋ยอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพราะนอกจากดินและปุ๋ยเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญในการเพาะปลูกพืชแล้ว ดินยังเป็นแหล่งผลิตปัจจัยสี่ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ทั้งยังมีบทบาทและส่งผลกระทบต่อคุณภาพของสิ่งแวดล้อม
เมื่อปลายปี 2552 ผู้เขียนจึงได้เริ่มจัดทำต้นฉบับหนังสือ “รู้จักดิน รู้จักปุ๋ย” ที่มีภาพวาดประกอบ เพื่อให้เด็กและเยาวชนเข้าใจง่าย ส่วนเนื้อหาของหนังสือฯ ประกอบด้วย 4 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 โลกของเรา เพื่อแสดงให้เห็นว่า โลกเกิดขึ้นและมีพัฒนาการมายาวนาน เช่นเดียวกับดินที่ได้ก่อกำเนิดมาแต่ดึกดำบรรพ์ อันเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการดำรงชีพของมวลมนุษยชาติ
ตอนที่ 2 ดิน เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของดิน และรู้ว่าดินเกิดขึ้นได้อย่างไร และมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ดินดี/ดินเลวดูที่ไหน จะปรับปรุงบำรุงดินได้อย่างไร พืชต้องการธาตุอาหารอะไรบ้าง ดินให้ธาตุอาหารพืชอะไรบ้าง ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย แตกต่างกันตรงไหน
ตอนที 3 ปุ๋ย เพื่อให้รู้ว่า ปุ๋ยคืออะไร ปุ่ยมีกี่ประเภท ฉลากบนถุงปุ๋ยบ่งชี้อะไร ปุ๋ยถูก/ปุ๋ยแพงดูที่ไหน แม่ปุ๋ยและปุ๋ยผสมต่างกันตรงไหน ประโยชน์ของการผสมปุ๋ยใช้เองมีอะไรบ้าง จะเลือกซื้อปุ๋ยที่มีธาตุอาหารตรงตามคำแนะนำใช้ปุ๋ยได้อย่างไร และ
ตอนที่ 4 การใช้ปุ๋ยเคมีให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้รู้ว่า ถ้าใช้ปุ๋ยเคมี จะเลือกใช้ปุ๋ยชนิดใด ใช้ประมาณเท่าไร ใช้เมื่อไร และใช้อย่างไร
สุดท้ายนี้ ผู้เขียนขอกราบขอบพระคุณ ศาสตรจารย์เกียรติคุณ ดร.สรสิทธิ์ วัชโรทยาน ที่กรุณาให้คำปรึกษาแนะนำในการคัดเลือกเนื้อหาเพื่อให้เหมาะสมกับวัยของเด็กและเยาวชน และขอขอบคุณ ศาสตราจารย์ ดร.นันทกร บุญเกิด สำหรับภาพประกอบปุ๋ยชีวภาพ
ทำนาต้องรู้จัก…ดินและปุ๋ย “ทำนายุคนี้ต้องพึ่งเทคโนโลยี ข้าวถึงจะมีคุณภาพได้ปริมาณตามเป้า แต่ชาวบ้านแถวนี้ ส่วนใหญ่ยังคงทำนาแบบเดิมๆ ทำตามอย่างที่พ่อแม่ทำ บางปีแทบไม่เหลือทุน ใช้เพาะปลูกในปีถัดไป ต้องไปกู้ยืมมาซื้อเมล็ดพันธุ์ปุ๋ยใส่ข้าว” เพราะเนื่องจากไม่เกิดการวางผนที่ดีการการเริ่มต้นในการเพาะปลูก และอาจทำให้เกษตรกรผู้ทำการเพราะปลูกได้ผลิตผลิตไม่ได้มากอย่างที่ควรนัก จึงทำให้เกิดการกู้ยืม และเกิดหนี้สินเกิดขึ้นในที่สุด
สุกัลยา คำจันทร์ ชาวนาบ้านช่างน้อย ต.โจดม่วง อ.ศิลาลาด จ.ศรีสะเกษ บอกว่าทำนาปลูกข้าวตั้งแต่ยังเล็กๆ ปลูกแบบปล่อยทิ้งรอฝนรอฟ้า ก่อนข้าวตั้งท้องใส่ปุ๋ยบำรุง สูตรที่ร้านค้าจัดหามาให้…นา 62 ไร่ ได้ข้าวปีละ 9 ตัน แม้อยากทำนาให้ได้มาตรฐาน แต่ไม่กล้าปรับเปลี่ยน กลัวได้ข้าวน้อยกว่าเก่า เพราะเกษตรที่เพราะปลูกไม่มีการคิดในแนวคิดใหม่ๆ เลยกลัวแตค่ได้ผลิตที่น้อยกว่าเดิม
ปี 2561 ทีม ซีพี ข้าวตราฉัตร เข้ามาในหมู่บ้าน อบรมการปลูกข้าวให้ได้มาตรฐาน พร้อมกับเปิดรับสมาชิกเข้า “โครงการนาแปลงใหญ่ข้าวหอมมะลิคุณภาพ”
“เขามาให้ความรู้ หากต้องการได้ข้าวเต็มเมล็ด รวงดี น้ำหนักแน่น ต้องดูแลวิเคราะห์ดินตั้งแต่ก่อนปลูก ใส่ปุ๋ยรองพื้นให้ถูกเวลา ปลูกข้าวมานานหลายปี ไม่เคยรู้จักปุ๋ยรองพื้นคืออะไร ด้วยความอยากรู้ จึงปรับที่นา 4 ไร่ ทำอย่างที่ไปอบรมมา”

เริ่มตั้งแต่ไถพลิกหน้าดิน ล่อให้วัชพืช ข้าวที่ตกหล่นงอก ไถรอบ 2 (ไถดะ) ตากแดดนาน 7 วัน แล้วนำมูลวัวแห้งมาใส่ นา 1 ไร่ ใช้มูลวัว 200-250 กก. ครั้งที่ 3 ไถพรวนให้มูลวัวคลุกเคล้าทั่วถึง กระทั่งเข้าฤดูฝน หน้าดินเริ่มมีจุลินทรีย์โครงสร้างดินร่วนโปร่งไม่แข็งอัดทับ และทำให้เกษตรกรได้ปักดำข้าวที่ง่ายขึ้น
หลังดำนา 15 วัน ต้นข้าวเริ่มถอดใบใหม่ฟื้นตัว ใส่ปุ๋ยรองพื้นสูตร 16-8-8 ไร่ละ 20 กก. ปุ๋ยสูตรนี้ช่วยเร่งการเจริญเติบโต ให้ต้นข้าวสร้างคลอโรฟิลล์สังเคราะห์แสงได้ดี…แต่ห้ามใส่ปุ๋ยก่อนกำหนด เพราะเมื่อปุ๋ยละลายต้นข้าวไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ข้าวแตกกอไม่ดี และไม่สวยงามมีการเจริญเตบโตที่ช้า
หลังใส่ปุ๋ยรองพื้น ให้กำจัดวัชพืชเก็บข้าวดีด ข้าวปนออก…กระทั่งข้าวเริ่มตั้งท้อง ถึงจะหว่านปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 อีกไร่ละ 5 กก. เพื่อเร่งให้ข้าวเจริญงอกงามไดดีมากยิ่งขึ้นจากการใส่ปุ๋ยรองเพิ้นที่แล้ว ทำนาต้องรู้จัก…ดินและปุ๋ย
ปรากฏว่า…ทำปีแรก ได้ข้าวเฉลี่ยไร่ละ 600 กก. จากเดิมที่เคยได้แค่ 145 กก. ซึ่งเปรียบเทียบกันแล้วได้ผลที่ดีขึ้นมากกว่า 3 เท่าตัว เนื่องจากได้รับการดูแลที่ดีมากยิ่งขึ้น

ปีที่แล้ว สุกัลยา เลยทำเต็มพื้นที่ 62 ไร่ นอกจากมีรายได้ จากการขายข้าวสดให้ข้าวตราฉัตร 260,000 บาท…. ยังมีข้าวเหลือเก็บในยุ้งฉาง 17 ตัน ไว้ตวงขายและเก็บไว้เพื่อบริโภค ระหว่างปี และปีถัดไปอีกด้วย
นายไตรรัตน์ อุดมศรีโยธิน รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส งานพัฒนาวัตถุดิบต้นน้ำ ข้าวตราฉัตร บอกว่า การปลูกข้าวหอมมะลิให้ได้ผลผลิตมาก ต้นทุนน้อย ขึ้นอยู่กับการดูแลใส่ใจ แต่ชาวนาไทยคุ้นเคยกับการปลูกข้าวใส่ปุ๋ยกันมาก กลายเป็นสาเหตุทำให้สภาพดินเสื่อมโทรม

ดังนั้น ปีนี้ข้าวตราฉัตรจึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรรู้จักลดต้นทุน ทำนาสะอาด เปลี่ยนเมล็ดพันธุ์ใหม่ ใช้เมล็ดพันธุ์ดี ควบคู่กับการใช้ปุ๋ยอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ได้ข้าวคุณภาพตรงตามความต้องการตลาดผู้บริโภค.
อ่านข่าวอื่นๆเพิ่มเติมได้ที่ ข่าวออนไลน์ , epicwin กรมอุตุฯ เตือนรับมือพายุซินลากู ทั่วไทย pgslot,pgslot99